CONSIDERATIONS TO KNOW ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เราชื่อว่า การทําให้คนทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง เป็นทางออกหนึ่งของปัญหานี้ จะทําให้คนไทยเป็นกําลังทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพและผลิตภาพ ทุกคนสามารถมีชีวิตที่ดีขึ้นได้ หลุดพ้นจากความยากจน ประเทศไทยก็จะสามารถมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้

แม้ในแต่ละปีมีบัณฑิตที่จบการศึกษาเป็นจำนวนมาก แต่กลับไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งเป็นผลพวงมาจากระบบการศึกษาในปัจจุบันที่ไม่สอดรับกับความต้องการขององค์กรต่างๆ เนื่องจากระบบโครงสร้างทางการศึกษาไทย ทำให้นักเรียน หรือนักศึกษาขาดประสบการณ์ในการเรียนรู้ และการทำงาน 

ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาระหว่างภูมิภาคในประเทศไทย:

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ผลงาน รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.

สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

ความเหลื่อมล้ำด้านการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานมีแนวโน้มลดลง:

ยังมีข้อจำกัดด้านความแม่นยำ และไม่รัดกุมมากพอจะตรวจสอบความซ้ำซ้อนของจำนวนนักเรียน ส่งผลให้นานวันเข้า เด็กที่ขึ้นชื่อว่า ‘ยากจน’ ในระบบมีอยู่อย่างล้นหลาม แต่เงินซึ่งถูกแจกจ่ายออกไปกลับอยู่ในมือของคนอื่น เกิดเหตุการณ์ ‘คนจนจริงไม่ได้เงิน ส่วนคนได้เงินไม่ได้จนจริง’

ช่องว่างของรายได้และทรัพย์สินดังกล่าวส่งผลกระทบทอดยาวไปสู่ความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ ในสังคม หนึ่งในนั้นคือความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา รายงานเรื่องความไม่เสมอภาคทางการศึกษาของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เผยสถานการณ์ปัจจุบันว่า

เพราะฉะนั้น ความเหลื่อมล้ำในแต่ละบริบทนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจากมิติใดมิติหนึ่งเพียงอย่างเดียว ความเหลื่อมล้ำนั้นสามารถเกิดได้จากทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ หรือความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากมิติวัฒนธรรม หรืออคติเชิงชาติพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ครอบครัวเปรียบเสมือนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ความสำคัญกับการศึกษา โดยครอบครัวที่มีการดูแลเอาใจใส่ และเลี้ยงดูบุตรหลานมาอย่างมีคุณภาพ มักมีการส่งเสริม หรือแสวงหาโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้ลูกหลาน ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ในทางตรงกันข้าม หากครอบครัวใดที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา หรือไม่ได้ใส่ใจบุตรหลานมากเพียงพอ อาจมีแนวโน้มว่าบุตรหลานจะไม่ใส่ใจ และไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา ดังนั้น การที่เด็กแต่ละคนเติบโตมาในสภาพสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจได้รับการขัดเกลาทางสังคมในด้านการให้ความสำคัญกับการศึกษาที่แตกต่างกัน

ฐานะทางสังคม และสภาพเศรษฐกิจที่แตกต่างกันทำให้เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียมทางการศึกษา เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจส่งผลต่อความสามารถของครอบครัวในการสนับสนุน หรือส่งเสริมด้านการเรียนของบุตรหลานได้มากน้อยแตกต่างกันไป อาจกล่าวได้ว่าครอบครัวใดที่มีฐานะทางสังคม และสภาพทางเศรฐกิจที่ดี ย่อมมีตัวเลือกในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากกว่า ในขณะที่ครอบครัวที่มีสภาพคล่องทางเศรษฐกิจที่น้อยลงมา อาจทำให้โอกาสทางการศึกษาถูกจำกัดให้น้อยลงตามไปด้วย 

Report this page